สามารถเข้าใช้งานหัวข้อนี้ได้จากเมนู [ Buy (ซื้อ) -> Buy Item View (รายการซื้อแยกตามสินค้า) ]
หัวข้อนี้ มีไว้สำหรับ ดูรายการซื้อสินค้าที่เคยซื้อไป โดยเป็นการดูแบบแยกตามสินค้า เช่น ภายในช่วงเวลานี้
เราซื้อสินค้าอะไรมากี่ชิ้นบ้าง หรือ ซื้อสินค้านี้มาจากผู้จำหน่ายรายไหน อย่างละเท่าไหร่ เป็นต้น
ดูรายการซื้อแยกตามสินค้า (Buy Item View) มีวิธีการใช้งานดังต่อไปนี้
1. ส่วนที่ใช้สำหรับค้นหาข้อมูล - เป็นส่วนที่ใช้ระบุขอบเขตในการค้นหาข้อมูลให้แคบลง ในกรณีที่มีข้อมูล
เยอะ การระบุขอบเขตในการค้นหาจะช่วยทำให้หาข้อมูลได้เร็วขึ้น สามารถค้นหาข้อมูลได้จาก
- Product
Name - ชื่อสินค้า
- Product
Code - รหัสสินค้า
- Product
Barcode - บาร์โค้ดสินค้า
- Serial
Number - หมายเลข Serial Number
- หากไม่เช็คถูกตรงคำว่า
Serial Number โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยไม่แสดง
Serial Number
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Serial Number แล้วไม่ระบุ Serial Number ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยถ้าหากสินค้าไหนมี Serial Number ก็จะแยกมาแสดงให้ดูใน 1 Serial
Number ต่อ 1 บรรทัด
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Serial Number แล้วระบุ Serial Number ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา เฉพาะรายการสินค้าที่มี Serial Number ตามที่ได้ระบุไว้
- Product
Group (กลุ่มสินค้า) - กลุ่มสินค้า
- หากไม่เช็คถูกตรงคำว่า
Product Group (กลุ่มสินค้า) โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา
โดยไม่แสดง กลุ่มสินค้า
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Product Group (กลุ่มสินค้า) แล้ว ไม่ระบุ กลุ่มสินค้า ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยแยกผลการค้นหาออกเป็นแต่ละกลุ่มสินค้า
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Product Group (กลุ่มสินค้า) แล้ว ระบุ กลุ่มสินค้า ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา เฉพาะรายการสินค้าที่อยู่ใน กลุ่มสินค้า ตามที่ได้ระบุไว้
- Brand
(ยี่ห้อสินค้า) - ยี่ห้อสินค้า
- หากไม่เช็คถูกตรงคำว่า
Brand (ยี่ห้อสินค้า) โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยไม่แสดง
ยี่ห้อสินค้า
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Brand (ยี่ห้อสินค้า) แล้ว ไม่ระบุ ยี่ห้อสินค้า ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยแยกผลการค้นหาออกเป็นแต่ละยี่ห้อสินค้า
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Brand (ยี่ห้อสินค้า) แล้ว ระบุ ยี่ห้อสินค้า ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา เฉพาะรายการสินค้าที่มี ยี่ห้อสินค้า ตามที่ได้ระบุไว้
- Supplier
Name (ชื่อผู้จำหน่าย) - ชื่อผู้จำหน่าย
- หากไม่เช็คถูกตรงคำว่า
Supplier Name (ผู้จำหน่าย) โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา
โดยไม่แสดง ผู้จำหน่าย
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Supplier Name (ผู้จำหน่าย) แล้ว ไม่ระบุ ผู้จำหน่าย ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยแยกผลการค้นหาออกเป็น ผู้จำหน่าย แต่ละราย
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Supplier Name (ผู้จำหน่าย) แล้ว ระบุ ผู้จำหน่าย ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา เฉพาะรายการสินค้าที่ซื้อมาจาก ผู้จำหน่าย รายที่ได้ระบุไว้
- Buy
ID - ID ของใบซื้อที่โปรแกรมสร้างขึ้น
- หากไม่เช็คถูกตรงคำว่า
Buy ID โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยไม่แสดง Buy ID
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Buy ID แล้ว ไม่ระบุ Buy ID (ป้อนค่า 0 ในช่อง Buy ID)
ที่ต้องการค้นหา โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยแยกผลการค้นหาออกเป็นแต่ละ Buy ID
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Buy ID แล้ว ระบุ Buy ID ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา เฉพาะรายการสินค้าที่ซื้อมาจากใบซื้อตาม ID ที่ได้ระบุไว้
- ในการเช็คถูก Buy ID,
Doc No.(เลขที่เอกสาร) และ Invoice No.(เลขที่ใบกำกับ)
จะสัมพันธ์กัน กล่าวคือหากเช็คถูกในข้อใดข้อหนึ่ง อีก 2 ช่องจะถูกเช็คถูกตามไปด้วย
หรือหากเอาเช็คถูกออกจากช่องในช่องหนึ่ง อีก 2 ช่องที่เหลือก็กจะถูกเอา เครื่องหมายเช็คถูกออกไปด้วย
- Doc
No.(เลขที่เอกสาร) - เลขที่เอกสาร
- หากไม่เช็คถูกตรงคำว่า
Doc No.(เลขที่เอกสาร) โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา
โดยไม่แสดง Buy ID
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Doc No.(เลขที่เอกสาร) แล้ว ไม่ระบุ เลขที่เอกสาร (ป้อนค่า 0 ในช่อง
Doc No.(เลขที่เอกสาร)) ที่ต้องการค้นหา โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา
โดยแยกผลการค้นหาออกเป็นแต่ละ เลขที่เอกสาร
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Doc No.(เลขที่เอกสาร) แล้ว ระบุ เลขที่เอกสาร ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา เฉพาะรายการสินค้าที่ซื้อมาจากใบซื้อตาม เลขที่เอกสาร ที่ได้ระบุไว้
- ในการเช็คถูก Buy ID,
Doc No.(เลขที่เอกสาร) และ Invoice No.(เลขที่ใบกำกับ)
จะสัมพันธ์กัน กล่าวคือหากเช็คถูกในข้อใดข้อหนึ่ง อีก 2 ช่องจะถูกเช็คถูกตามไปด้วย
หรือหากเอาเช็คถูกออกจากช่องในช่องหนึ่ง อีก 2 ช่องที่เหลือก็กจะถูกเอา เครื่องหมายเช็คถูกออกไปด้วย
- Invoice
No.(เลขที่ใบกำกับ) - เลขที่ใบกำกับ
- หากไม่เช็คถูกตรงคำว่า
Invoice No.(เลขที่ใบกำกับ) โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา
โดยไม่แสดง เลขที่ใบกำกับ
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Invoice No.(เลขที่ใบกำกับ) แล้ว ไม่ระบุ เลขที่ใบกำกับ
ที่ต้องการค้นหา โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยแยกผลการค้นหาออกเป็นแต่ละ เลขที่ใบกำกับ
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Invoice No.(เลขที่ใบกำกับ) แล้ว ระบุ เลขที่ใบกำกับ ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา เฉพาะรายการสินค้าที่ซื้อมาจากใบซื้อตาม เลขที่ใบกำกับ ที่ได้ระบุไว้
- ในการเช็คถูก Buy ID,
Doc No.(เลขที่เอกสาร) และ Invoice No.(เลขที่ใบกำกับ)
จะสัมพันธ์กัน กล่าวคือหากเช็คถูกในข้อใดข้อหนึ่ง อีก 2 ช่องจะถูกเช็คถูกตามไปด้วย
หรือหากเอาเช็คถูกออกจากช่องในช่องหนึ่ง อีก 2 ช่องที่เหลือก็กจะถูกเอา เครื่องหมายเช็คถูกออกไปด้วย
- Start
Date (ตั้งแต่วันที่) - ระบุวันที่เริ่มต้นที่ต้องการค้นหา
- End
Date (ถึงวันที่) - ระบุวันสิ้นสุดที่ต้องการค้นหา
- Branch
Name (ชื่อสาขา) - สาขา
- หากไม่เช็คถูกตรงคำว่า
Branch Name (สาขา) โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา
โดยไม่แสดง สาขา
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Branch Name (สาขา) แล้ว ไม่ระบุ สาขา ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา โดยแยกผลการค้นหาออกเป็น สาขา แต่ละสาขา
- หากเช็คถูกตรงคำว่า
Branch Name (สาขา) แล้ว ระบุ สาขา ที่ต้องการค้นหา
โปรแกรมจะแสดงผลการค้นหา เฉพาะรายการซื้อสินค้าของ สาขา ที่ได้ระบุไว้
2. ส่วนตาราง Buy Item (รายการสินค้าแยกตามสินค้า) - จะมีหัวข้อที่แสดงในตาราง
ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในการค้นหา ซึ่งมีหัวข้อดังต่อไปนี้
- Branch
(สาขา) - สาขา
- ชื่อผู้ขาย - ชื่อผู้จำหน่าย
- Buy
ID - ID ของใบซื้อสินค้าที่โปรแกรมสร้างขึ้น
- Doc
No. - เลขที่เอกสาร
- Invoice
No. - เลขที่ใบกำกับ
- Doc
Date - วันที่เอกสาร
- กลุ่มสินค้า - กลุ่มสินค้า
- ยี่ห้อสินค้า - ยี่ห้อสินค้า
- รหัสสินค้า - รหัสสินค้า
- Barcode - บาร์โค้ดสินค้า
- ชื่อสินค้า - ชื่อสินค้า
- SN - Serial Number
- จำนวน - จำนวนซื้อทั้งหมด (แสดงเป็นหน่วยเล็กที่สุดเท่านั้น)
- หน่วย - หน่วยเล็กที่สุด
- ซื้อต่อหน่วย ไม่รวมภาษี - ราคาซื้อเฉลี่ยต่อหน่วย ยังไม่รวมภาษี
- ซื้อต่อหน่วย รวมภาษีแล้ว - ราคาซื้อเฉลี่ยต่อหน่วย รวมภาษีแล้ว
- รวมซื้อ ไม่รวมภาษี - ราคาซื้อทั้งหมดในบรรทัดนี้ ยังไม่รวมภาษี (ราคาซื้อต่อหน่วย ไม่รวมภาษี x
จำนวน)
- รวมซื้อ รวมภาษีแล้ว - ราคาซื้อทั้งหมดในบรรทัดนี้ รวมภาษีแล้ว (ราคาซื้อต่อหน่วย รวมภาษีแล้ว x
จำนวน)
- ในส่วนตารางนี้ด้านบนของตารางจะมีช่องที่เขียนว่า "Drag a column header here to group by that
column." ดังภาพ
- จากรูปด้านบนเราสามารถลาก Column (หัวข้อ) ที่เราต้องการจัดกลุ่มมาใส่ในนี้ได้
เช่นถ้าเราต้องการดู แบบให้แยกตามชื่อผู้จำหน่าย ก็ให้ลาก หัวข้อ ชื่อผู้ขาย มาวางตรงนี้ ดังรูป
- จากรูปด้านบนเมื่อเราวางหัวข้อลงไป แล้วตารางก็จะเปลี่ยนวิธีการแสดงโดยแยกการ
แสดงออกเป็นกลุ่มของผู้จำหน่าย ดังภาพต่อไปนี้
- จากรูปด้านบนถ้าหากเรา กดเครื่องหมาย + หน้า ช่อง "ชื่อผู้ขาย: Supplier 1"
แล้วจะได้ผลการแสดง รายการที่เป็นกลุ่มของ Supplier 1 ออกมาดังภาพ
- หรือถ้าในกรณีที่ผู้จำหน่าย มีมาก เราไม่อยากไปกดปุ่ม + ทีละรายการให้เสียเวลา
ก็ให้ทำเครื่องหมายเช็คถูกที่ช่อง Expand Group (ขยายกลุ่ม) ที่อยู่ด้านบนของตาราง
แล้วข้อมูลที่แสดงในตารางจะ ทำการแสดงรายละเอียดในแต่ละกลุ่มให้โดยอัตโนมัติ ดังภาพต่อไปนี้
3. ปุ่ม Search (ค้นหา)
- มีไว้สำหรับค้นหารายการซื้อสินค้า แยกตามสินค้า โดยก่อนค้นหา
สามารถระบุขอบเขตในการค้นหา ได้ที่ ส่วนที่ใช้สำหรับค้นหาข้อมูล (ส่วนที่ 1) จากนั้นกดปุ่ม Search
(ค้นหา) เพื่อค้นหารายการที่ต้องการดู
หากต้องการออกจากหน้านี้ สามารถกดปุ่ม ESC ที่ Keyboard หรือ กดปุ่ม Close
ที่หน้าจอเพื่อออกจากหน้านี้ได้